"การยืมจากภาษาเขมร"

       
   เขมรเป็นชาติที่มีความสัมพนธ์มานานท้งทางการค้า การสงครามการเมืองและ
  วัฒนธรรมเขมรมีอิทธิพล เหนือดินแดนสุวรรณภูมิก่อนกรุงสุโขทัยหลายร้อยปี
  จากการมีอณาเขตติดต่อกันทำให้ภาษาเขมรเข้ามา
  ปะปนกับภาษาไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ภาษาถิ่น
เขมรที่คล้ายคลึงกับภาษาพูด
  ของชาวอีสานใต้ของไทย
ตลอดจนชาวตะวันออกตามชายแดนไทย-กัมพูชาด้วย

          ลักษณะคำเขมรในภาษาไทย
           ๑. คำที่มาจากภาษาเขมรส่วนมากจะสะกดด้วย
             จ ญ ร ล ส เช่น เผด็จ, บำเพ็ญ, กำธร, ถกล, ตรัส
          ๒. ต้องแปล่ความหมายจึงจะเข้าใจ ใช้มากในบทร้อยกรอง
          ๓. เมื่อใช้ในภาษาไทย ข แผลงเป็น กระ เช่น ขจาย-กระจาย,ขโดง-กระโดง
          ๔. นิใช้อักษรนำแบบออกเสียงตัวนำ
              โดยพยางค์ต้นออกเสียง   ะ กิ่งเสียงพยางค์หลัง
          ๕. คำส่วนมากใช้เป็นคำราชาศัพย์

                         



ถัดไป 


NEWS
LINKS


E-learning การเรียนรู้ออนไลน์มาตราตัวสะกดต่างแม่
http://yenta4.ueuo.com
จัดทำโดย คณะนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา
แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

Free Web Hosting